วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2556

Unit 4 :: Present Continuous Tense (Present Progressive Tense)

            Present Continuous Tense เป็นการกล่าวถึงเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในขณะที่พูด โดยเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนเวลาที่พูด และยังเกิดต่อไปอีกเล็กน้อยหลังจากที่พูดจบ หรืออาจกล่าวได้ว่ามีการกระทำอันหนึ่งกำลังดำเนินดำเนินอยู่ในขณะที่พูด

โครงสร้างของ Present Continuous Tense หรือ Present Progressive Tense
หลักการใช้ Present Continuous ที่ผู้อ่านควรทราบ

      1.     ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังดำเนินอยู่ในขณะที่พูดหรืออาจกำลังดำเนินอยู่
-       Don’t take the CD player away : I am still listening it.
      2.     ใช้กับการกระทำที่เกิดขึ้นซ้ำซากจนเป็นนิสัยที่ก่อให้เกิดความรำคาญกับบุคคลอื่น เช่น
-       I can’t see you this morning because I am going out.
      3.     ใช้กับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น
-       Peter is always talking in class.
      4.     มักจะมีคำบอกเวลาในอนาคตที่ใช้กับ Present Continuous อยู่ในประโยค เช่น Now, at present, at this moment, today

นอกจากนี้ผู้อ่านจะพบกับข้อยกเว้นบางอย่าง คือ จะมีกริยาบางตัวที่ไม่สามารถใช้กับ Present Continuous ได้ คือ

1.   กริยาที่เกี่ยวกับการรับรู้ คือ
see                   hear                  smell                 feel
taste                 notice                observe             recognize
เช่น      
-       I feel very cold. Please turn off the air condition.

2.   กริยาที่เกี่ยวกับการรับรู้ ได้แก่
hate                  like                   dislike               love
admire              care                  respect              prefer
desire                forgive              refuse               want
wish                  hope
-       I hate the snake very much.
-       Mike desire to go to England for study.

3.   กริยาที่แสดงความเป็นเจ้าของ ได้แก่
belong               have                 owe                  own                  possess
เช่น      
-       That book belongs to me.

4.   กริยาที่เกี่ยวกับความรู้ ความคิด ความหวัง หรือ การสงสัย ได้แก่
believe              recognize          forget                think
remember         seem                know                suppose
look                  desire               realize               understand
เช่น
-       I know the plan to go to Songkha before my sister.

ต่อไปนี้คือการอธิบายเกี่ยวกับ verb to be ที่ใช้คู่ประธาน ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ Present Continuous ที่น้อง ๆ ควรจะทราบ

หลักการใช้ verb to “be” คู่ประธาน
verb to “be”
ประเภทของประธาน
is
-     ประธานที่เป็นคำนามเอกพจน์ เช่น a man the girl
-     ประธานที่เป็นสรรพนามเอกพจน์ คือ he, she, it
am
-     ประธานที่สรรพนามเป็น I
are
-     ประธานที่เป็นคำนามพหูพจน์ เช่น the women, the children
-     ประธานที่เป็นสรรพนามพหูพจน์ คือ you, we, they
           
ใน Present Continuous นี้ ผู้อ่านสามารถเปลี่ยนประโยคบอกเล่าให้เป็นประโยคคำถามและปฏิเสธ โดยมีวิธีการทำได้ ดังนี้

1.    ประโยคคำถาม จะต้องนำ verb to be (is, am, are) มาไว้หน้าประธาน เช่น
-       That boy is crying                --- > Is that baby crying?
-       I am smiling,                       --- > Are you smiling?
-       They are gardening.             --- > Are they gardening?

2.    ประโยคปฏิเสธ ทำได้โดยการเติม not หลัง verb to be เช่น
-       That baby is crying.              --- > That baby is not crying
-       I am smiling.                       --- > I am not smiling.
-       They are gardening.             --- > They are not gardening.

*ในการตอบคำถามของประโยคคำถามชนิดนี้ จะต้องตามด้วย Yes หรือ No เสมอ



ผู้เขียนบล็อกหวังว่าความรู้จากบล็อกนี้จะเป็นประโยชน์กับทุกท่านที่สนใจค่ะ
Cr. หนังสือ สุดยอด Tesnse

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น